คลังข้อสอบ พ.ร.บ. คุ้มครองและส่งเสริม
ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย 2542
จัดทำโดย อ. หมอสุชาติ ภูวรัตน์
นธ.เอก, บาลีประโยค 1-2
(อดีตพระธรรมทูตต่างประเทศ)
B.S. Engineering Design Tech.
B.A. ศาสนศาสตร์บัณฑิต
B.S. Computer Information Systems
B.TM. แพทย์แผนไทยบัณฑิต
สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
บ.ภ., พท.ว., พท.ผ., พท.น.
ครูแพทย์แผนไทย 4 ด้าน
ศูนย์การแพทย์แผนไทยภูเก็ต
เพื่อการศึกษา
และประโยชน์ต่อสุขภาพของผู้ชม
ให้นักศึกษาหาคำตอบเอง
ก่อนสอบกฎหมายและจรรยาบรรณวิชาชีพ
จึงไม่ใส่คำตอบไว้
เพราะไม่ได้เป็นคนตกปลาขาย
แต่เป็นอาจารย์สอนวิธีตกปลา
ให้นักศึกษาแพทย์แผนไทยเป็นผู้ตกปลารับประทานเอง
คลังข้อสอบ พ.ร.บ. คุ้มครองและส่งเสริม
ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย 2542
ข้อ 1. พ.ร.บ.คุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2542 ประกาศลงราชกิจจานุเบกษา เมื่อใด ?
ก. วันที่ 29
พฤศจิกายน พ.ศ. 2542
ข. วันที่ 28
พฤศจิกายน พ.ศ. 2542
ค. วันที่ 27
พฤศจิกายน พ.ศ. 2542
ง. วันที่ 26
พฤศจิกายน พ.ศ. 2542
จ. วันที่ 25
พฤศจิกายน พ.ศ. 2542
ข้อ 2.
พ.ร.บ.คุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2542
มีผลบังคับใช้เมื่อใด ?
ก. วันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ.
2543
ข. วันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ.
2543
ค. วันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2543
ง. วันที่ 29
พฤษภาคม พ.ศ. 2543
จ. วันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ.
2543
ข้อ 3. ความหมาย “ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย” ข้อใดถูก ?
ก. แพทย์แผนโบราณ
ข. ภูมิปัญญาแพทย์ทางเลือก
ค. พื้นความรู้ความสามารถเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทย
ง.
ภูมิปัญญาแพทย์พื้นบ้าน
จ. ภูมิปัญญาท้องถิ่นหมอพื้นบ้าน
ข้อ 4. ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย มีกี่ประเภท ?
ก. 1 ประเภท
ข. 2 ประเภท
ค. 3 ประเภท
ง. 4 ประเภท
จ. 5 ประเภท
ข้อ 5. ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย
ข้อใดถูก ?
ก. ตำรับยาแผนไทยของชาติหรือตำรายาการแพทย์แผนไทยของชาติ
ข. ตำรับยาแผนไทยทั่วไปหรือตำรายาการแพท์แผน”ไทยทั่วไป
ค. ตำรับยาแผนไทยส่วนบุคคลหรือตำรายาการแพท์แผนไทยส่วนบุคคล
ง. ตำรับยาแผนไทยโบราณหรือตำรายาการแพทย์แผนไทยโบราณ
จ. ข้อ ก. ข้อ ข. และข้อ ค.
ข้อ
6. บุคคลซึ่งมีสิทธิจดทะเบียนสิทธิในภูมืปัญญาการแพทย์แผนไทย ข้อใดถูก ?
ก. ต้องมีสัญชาติไทย
ข. เป็นผู้คิดค้นตำรับยาแผนไทยหรือตำรายาการแพทย์แผนไทย
ค. เป็นผู้ปรับปรุงหรือพัฒนาตำรับยาแผนไทยหรือตำรายาการแพทย์แผนไทย
ง. เป็นผู้สืบทอดตำรับยาแผนไทยหรือตำรายาการแพทย์แผนไทย
จ. ไม่มีข้อใดผิด
ข้อ 7. ความหมาย “ผู้สืบทอดตำรับยาแผนไทยหรือตำรายาการแพทย์แผนไทย”
ข้อใดถูก ?
ก.
บุคคลซึ่งได้รับการถ่ายทอดตำรับยาแผนไทยหรือตำรายาการแพทย์แผนไทยจากผู้คิดค้น
ข. บุคคลซึ่งได้รับการถ่ายทอดตำรับยาแผนไทยหรือตำรายาการแพทย์แผนไทยจากผู้ปรับปรุง
ค.
บุคคลซึ่งได้รับการถ่ายทอดตำรับยาแผนไทยหรือตำรายาการแพทย์แผนไทยจากผู้พัฒนา
ง. บุคคลซึ่งได้เล่าเรียนตำรับยาแผนไทยหรือตำรายาการแพทย์แผนไทยสืบต่อกันมาโดยไม่ทราบผู้คิดค้น
ผู้ปรับปรุง หรือผู้พัฒนา
จ. ไม่มีข้อใดไม่ถูก
ข้อ 8. ความหมาย “ผู้ทรงสิทธิ” ข้อใดถูก ?
ก.
บุคคลซึ่งได้จดทะเบียนสิทธิในภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยตาม พ.ร.บ. นี้
ข. บุคคลซึ่งได้รับมอบหมายสิทธิจากบุคคลอื่น
ค.
บุคคลซึ่งสืบทอดภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย
ง. บุคคลซึ่งปรับปรุงภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย
จ. บุคคลซึ่งพัฒนาภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย
ข้อ 9. ความหมาย “นายทะเบียน”
ตามมาตรา 13 ข้อใดถูก ?
ก. นายทะเบียนกลาง คือ อธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก)
ข. นายทะเบียนจังหวัด
คือ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด
ค. นายทะเบียนอำเภอ คือ
นายอำเภอ
ง. นายทะเบียนตำบล
คือ นายก อบต.
จ. ข้อ ก. และข้อ ข.
ข้อ 10. ความหมาย “ผู้อนุญาต” ข้อใดถูก ?
ก. ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ข. ผู้ที่ปลัดกระทรวงสาธารณสุขมอบหมาย
ค. รัฐมนตรีกระทรวงสาธารณสุข
ง. พนักงานเจ้าหน้าที่
จ. ข้อ ก. ข้อ ข. และข้อ ง.
ข้อ 11. ความหมาย “พนักงานเจ้าหน้าที่”
ข้อใดถูก ?
ก. ผู้อนุญาต
ข. นายทะเบียน
ค. ผู้ซึ่รัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
จ. ไม่มีข้อใดผิด
ข้อ 12. ความหมาย “การแพทย์แผนไทย”
ข้อใดถูก ?
ก. กระบวนการทางการแพทย์เกี่ยวกับการตรวจ
วินิจฉัย บำบัด รักษา หรือป้องกันโรค
ข. การส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพของมนุษย์และสัตว์
ค. การผดุงครรภ์
การนวดไทย รวมถึงการเตรียมการผลิตยาแผนไทย
ง. การประดิษฐ์อุปกรณ์และเครื่องมือทางการแพทย์
ทั้งนี้ โดยอาศัยความรู้หรือตำราที่ได้ถ่ายทอดและพัฒนาสืบต่อกันมา
จ. ไม่มีข้อใดไม่ถูก
ข้อ 13. ความหมาย “ตำราการแพทย์แผนไทย” ข้อใดถูก ?
ก. หลักวิชาการต่างๆ
เกี่ยวกับการแพทย์แผนไทย
ข. หลักวิชาการที่ได้บันทึกไว้ในสมุดไทย
ค. หลักวิชาการที่ได้บันทึกไว้ในใบลาน
ศิลาจารึก หรือวัสดุอื่น
ง. หลักวิชาการที่มิได้มีการบันทึกกันไว้แต่เป็นการเรียนรู้หรือถ่ายทอดสืบต่อกันมาไม่ว่าด้วยวิธีใด
จ. ไม่มีข้อใดผิด
ข้อ 14. ความหมาย “ยาแผนไทย” ข้อใดถูก ?
ก. ยาที่ได้จากสมุนไพรโดยตรง
ข. ยาที่ได้จากการผสม ปรุง หรือแปรสภาพสมุนไพร
ค. ยาแผนโบราณตามกฎหมายว่าด้วยยา
ง.
ข้อ ก. ข้อ ข. และข้อ ค.
จ. ไม่มีข้อใดไม่ถูก
ข้อ 15. ความหมาย “ตำรับยาแผนไทย”
ข้อใดถูกที่สุด ?
ก. สูตรซึ่งระบุวิธีการผลิตและส่วนประกอบสิ่งปรุงที่มียาแผนไทยอยู่ด้วยไม่ว่าสิ่งปรุงนั้นจะมีรูปลักษณะใด
ข. สิ่งที่วิจัยปรุงแต่งทางเคมีที่มียาแผนไทยอยู่ด้วยไม่
ค. สูตรซึ่งระบุวิธีการทำผลิตภัณฑ์ต่างๆ
ง.
ตำรับยาแผนไทยโบราณหรือตำรายาการแพทย์แผนไทยโบราณ
จ. ตำรายาการแพทย์แผนไทยโบราณ
ข้อ 16. ความหมาย “สมุนไพร” ข้อใดถูกที่สุด
?
ก. พืช
สัตว์ จุลชีพ ธาตุวัตถุ สารสกัดดั้งเดิมจากพืชหรือสัตว์ที่ใช้หรือแปรสภาพหรือผสมหรือปรุงเป็นยาและอาหาร
เพื่อการตรวจวินิจฉัย บำบัด รักษา หรือป้องกันโรค
หรือส่งเสริมสุขภาพร่างกายของมนุษย์หรือสัตว์
ข. พืชวัตถุ สัตว์วัตถุ และธาตุวัตถุ ที่นำมาปรุงเป็นอาหาร
ค. พืชวัตถุ สัตว์วัตถุ
และธาตุวัตถุ ใช้อย่างเดียวไม่ผสมอย่างอื่น
ง. ถิ่นกำเนิดหรือถิ่นที่อยู่ของพืชวัตถุ
สัตว์วัตถุ และธาตุวัตถุ ตามธรรมชาติในป่าดงพงไพร
จ. ส่วนของพืชวัตถุ
สัตว์วัตถุ และธาตุวัตถุ ที่นำมาใช้บำบัดโรคได้โดยไม่ต้องผสมปรุงแต่ง
ข้อ 17. ความหมาย “สมุนไพรควบคุม” ข้อใดถูก
?
ก. สมุนไพรที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดให้เป็นสมุนไพรควบคุม
ข. พืช สัตว์ ธาตุวัตถุที่ควบคุมเพื่อการค้า
ค. พืช สัตว์ ธาตุวัตถุที่มีอยู่น้อยไม่พอใช้
ง. พืช สัตว์ จุลชีพ ธาตุวัตถุที่ต้องสั่งซื้อจากต่างประเทศ
จ. พืช สัตว์
จุลชีพ ธาตุวัตถุที่มีราคาแพง
ข้อ
18. ความหมาย “เขตอนุรักษ์” ข้อใดถูกที่สุด ?
ก. เขตป่าสงวนแห่งชาติ เขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขตห้ามล่าสัตว์ป่า
เขตอุทยานแห่งชาติ และเขตพื้นที่คุ้มครองอย่างอื่นเพื่อสงวนและรักษาสภาพธรรมชาติตามที่มีกฎหมายกำหนด
ข. เขตป่าสงวนพันธุ์สัตว์ป่า หายาก ใกล้สูญพันธุ์
ง. เขตสงวนพันธุ์สัตว์อากาศ
หายาก ใกล้สูญพันธุ์
จ. ไม่มีข้อใดไม่ถูก
ข้อ 19. ความหมาย
“สารสกัดดั้งเดิม” ข้อใดถูกที่สุด ?
ก. สารธรรมชาติที่ยังมิได้ปรุงแต่งหรือต่อเติมโมเลกุลตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
จนเกิดเป็นสารใหม่
ข. สารที่ได้จากสมุนไพรสดเพิ่งตัดมาใหม่ๆ
ค. สารที่ได้จากการอบสมุนไพรให้แห้ง
ง. สารที่ได้จากสมุนไพรที่สกัดด้วยสุรา 40 ดีกรี
จ. สารที่ได้จากสมุนไพรที่สกัดด้วยแอลกอฮอล์
100 เปอร์เซ็น
ข้อ 20. ใครคือผู้อนุญาต ข้อใดถูก ?
ก. อธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
ข. ปลัดกระทรวงหรือผู้ซึ่งปลัดกระทรวงมอบหมาย
ค. อธิบดีกรมทรัพย์สินทางปัญญา
ง. เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและและยา
จ. อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
ข้อ 21. การจดทะเบียนตำรับยาใน พ.ร.บ.
คุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ต้องเป็นตำรับยาของใคร ?
ก. ของผู้คิดค้นตำรับยาแผนไทยหรือตำรายาการแพทย์แผนไทย
ข. ของผู้ปรับปรุงหรือพัฒนาตำรับยาแผนไทยหรือตำรายาการแพทย์แผนไทย
ค. ของผู้สืบทอดตำรับยาแผนไทยหรือตำรายาการแพทย์แผนไทย
ง. ข้อ ก. ข้อ ข. และข้อ ค.
จ. ไม่มีข้อใดไม่ถูก
ข้อ 22. พ.ร.บ. คุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ไม่คุ้มครองถึง
ข้อใดถูก ?
ก. ตำราส่วนบุคคล
ข. ตำรับยาแผนไทยของชาติหรือตำรายาการแพทย์แผนไทยของชาติ
ค. ตำรับยาแผนไทยทั่วไปหรือตำรายาการแพท์แผน”ไทยทั่วไป
ง. ตำรับยาแผนไทยส่วนบุคคลหรือตำรายาการแพท์แผนไทยส่วนบุคคล
จ. ข้อ ข. ข้อ ค. และข้อ ง. คุ้มครอง
ข้อ 23. ความหมาย “แปรรูปอย่างหยาบ” ข้อใดถูกที่สุด ?
ก. การปรุงแต่งหรือเปลี่ยนแปลงสภาพหรือคุณสมบัติของสมุนไพร
ทำให้ได้สารสกัดแบบรวมด้วยกรรมวิธีแบบดั้งเดิมและแบบพัฒนาขึ้น
โดยมิได้สกัดแยกสารบริสุทธิ์เป็นรายขนิดหรือรายตัว
ข. หั่นสมุนไพรอย่างหยาบๆ
ค. ตำสมุนไพรอย่างหยาบๆ
ง. บดสมุนไพรอย่างหยาบๆ
จ. ข้อ ข. ข้อ
ค. และข้อ ง.
ข้อ
24. ชื่อใดที่ไม่อยู่ใน พ.ร.บ. คุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ข้อใดถูก ?
ก. ตำราการแพทย์แผนโบราณทั่วไป
ง. ตำรายาอายุเวช
จ. ตำรับยาแผนโบราณ
ข้อ 25. คณะกรรมการ พ.ร.บ.
คุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย มีกี่คน ?
ข. 23 คน
ค. 25 คน
ง. 27 คน
จ. 29 คน
ข้อ 26. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละ
กี่ปี ?
ก. 2 ปีนับแต่วันที่ได้รับแต่งตั้ง
ข. 3 ปีนับแต่วันที่ได้รับแต่งตั้ง
ค. 4
ปีนับแต่วันที่ได้รับแต่งตั้ง
ง. 5 ปีนับแต่วันที่ได้รับแต่งตั้ง
จ. 7
ปีนับแต่วันที่ได้รับแต่งตั้ง
ข้อ 27. การประชุมคณะกรรมการ
ต้องมีกรรมการมาประชุมเท่าใด จึงจะเป็นองค์ประชุม ?
ก. ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด
จึงจะเป็นองค์ประชุม
ข. ไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจำนวนกรรมการทั้งหมด
จึงจะเป็นองค์ประชุม
ค.
ไม่น้อยกว่าสองในสามของจำนวนกรรมการทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม
ง. ไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจำนวนกรรมการทั้งหมด
จึงจะเป็นองค์ประชุม
จ. ไม่น้อยกว่าสองในห้าของจำนวนกรรมการทั้งหมด
จึงจะเป็นองค์ประชุม
ข้อ 28. คณะกรรมการคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย
โดยตำแหน่ง ข้อใดถูก ?
ก. ปลัดกระทรวงสาธารณสุขเป็นประธานกรรมการ
อธิบดีกรมการแพทย์ อธิบดีกรมทรัพย์สินทางปัญญา
ข. อธิบดีกรมปศุสัตว์ อธิบดีกรมป่าไม้
อธิบดีกรมวิชาการเกษตร
ค. เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและและยา อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
ง. เลขาธิการสำนักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม
และผู้อำนวยการกองการประกอบโรคศิลปะ
จ. ไม่มีข้อใดไม่ถูก
ข้อ 29. ใครเป็นเลขานุการ คณะกรรมการ พ.ร.บ.
คุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ข้อใดถูก ?
ก. อธิบดีกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
เป็นกรรมการและเลขานุการ
ข. เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและและยา
เป็นกรรมการและเลขานุการ
ค. อธิบดีกรมทรัพย์สินทางปัญญา เป็นกรรมการและเลขานุการ
ง. เลขาธิการสำนักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม
เป็นกรรมการและเลขานุการ
จ. อธิบดีกรมป่าไม้
เป็นกรรมการและเลขานุการ
ข้อ 30. คณะกรรมการคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย
ที่มาโดยการแต่งตั้ง จำนวนกี่คน และมีวาระกี่ปี ?
ข. 10 คน มีวาระ
3 ปี
ค. 10 คน มีวาระ 5 ปี
ง. 17 คน มีวาระ 2 ปี
จ. 17 คน มีวาระ 3 ปี
ข้อ
31.
สิทธิในภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยตามพระราชบัญญัตินี้ ให้มีอายุกี่ปี ?
ก. ตลอดอายุของผู้ทรงสิทธิ
และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลา 50
ปีนับแต่วันที่ผู้ทรงสิทธิถึงแก่ความตาย
ข. ตลอดอายุของผู้ทรงสิทธิ
และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลา 40 ปีนับแต่วันที่ผู้ทรงสิทธิถึงแก่ความตาย
ค. ตลอดอายุของผู้ทรงสิทธิ
และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลา 30 ปีนับแต่วันที่ผู้ทรงสิทธิถึงแก่ความตาย
ง. ตลอดอายุของผู้ทรงสิทธิ
และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลา 20 ปีนับแต่วันที่ผู้ทรงสิทธิถึงแก่ความตาย
จ. ตลอดอายุของผู้ทรงสิทธิ และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลา 10 ปีนับแต่วันที่ผู้ทรงสิทธิถึงแก่ความตาย
ข้อ 32. สิทธิในภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยตามพระราชบัญญัตินี้ไม่อาจโอนให้แก่ผู้อื่นได้
เว้นแต่ ?
ก. เป็นการตกทอดทางมรดก
ข. ยกให้เป็นของกระทรวงสาธารณสุข
ค. ยกให้เป็นสมบัติของชาติ
ง. ยกให้เป็นของสภาการแพทย์แผนไทย
จ. ยกให้เป็นของกรมการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
ข้อ 33. ในกรณีที่มีผู้ทรงสิทธิร่วม
ให้สิทธิในภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย มีอยู่เท่าใด ?
ก. ตลอดอายุของผู้ทรงสิทธิร่วม
และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลา 50
ปีนับแต่ผู้ทรงสิทธิร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย
ข. ตลอดอายุของผู้ทรงสิทธิร่วม
และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลา 55 ปีนับแต่ผู้ทรงสิทธิร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย
ค. ตลอดอายุของผู้ทรงสิทธิร่วม
และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลา 60 ปีนับแต่ผู้ทรงสิทธิร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย
ง. ตลอดอายุของผู้ทรงสิทธิร่วม
และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลา 65
ปีนับแต่ผู้ทรงสิทธิร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย
จ. ตลอดอายุของผู้ทรงสิทธิร่วม และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลา 70 ปีนับแต่ผู้ทรงสิทธิร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย
ข้อ 34. ก่อนที่จะสั่งเพิกถอนการจดทะเบียนสิทธิในภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยตามมาตรา 37 ให้นายทะเบียนทำการสอบสวนข้อเท็จจริงและแจ้งให้ผู้ทรงสิทธิทราบ เพื่อยื่นคำชี้แจงภายในกี่วัน ?
ก. ภายใน 30 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งดังกล่าว
ข. ภายใน 60 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งดังกล่าว
ง. ภายใน 120 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งดังกล่าว
จ. ภายใน 150 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งดังกล่าว
ข้อ 35. ผู้ทรงสิทธิที่ถูกเพิกถอนการจดทะเบียนตามมาตรา 39 อาจขอจดทะเบียนใหม่ได้ เมื่อพ้นกำหนดกี่ปี นับแต่วันที่นายทะเบียนมีคำสั่งเพิกถอนการจดทะเบียนสิทธิในภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยนั้น ?
ก. เมื่อพ้นกำหนด 1 ปีนับแต่วันที่นายทะเบียนมีคำสั่งเพิกถอนการจดทะเบียนสิทธิในภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยนั้น
ข. เมื่อพ้นกำหนด 2 ปีนับแต่วันที่นายทะเบียนมีคำสั่งเพิกถอนการจดทะเบียนสิทธิในภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยนั้น
ค. เมื่อพ้นกำหนด 3 ปีนับแต่วันที่นายทะเบียนมีคำสั่งเพิกถอนการจดทะเบียนสิทธิในภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยนั้น
ง. เมื่อพ้นกำหนด 4 ปีนับแต่วันที่นายทะเบียนมีคำสั่งเพิกถอนการจดทะเบียนสิทธิในภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยนั้น
จ. เมื่อพ้นกำหนด 5 ปีนับแต่วันที่นายทะเบียนมีคำสั่งเพิกถอนการจดทะเบียนสิทธิในภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยนั้น
ข้อ 36. ผู้ใดประสงค์จะนำตำรับยาแผนไทยของชาติไปขอขึ้นทะเบียนตำรับยาและขออนุญาตผลิตยาตามกฎหมายว่าด้วยยา
จะต้องชำระค่าธรรมเนียมแก่ผู้อนุญาตเท่าไร (ตามท้าย พ.ร.บ.นี้) ?
ก. ฉบับละ 20,000 บาท
ข. ฉบับละ 30,000 บาท
ค. ฉบับละ 40,000 บาท
ง. ฉบับละ 50,000 บาท
จ. ฉบับละ 60,000 บาท
ก. ให้ใช้ได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคมของปีที่ 3
นับแต่ปีที่ออกใบอนุญาต
ข. ให้ใช้ได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคมของปีที่ 4
นับแต่ปีที่ออกใบอนุญาต
ค. ให้ใช้ได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคมของปีที่ 5
นับแต่ปีที่ออกใบอนุญาต
ง. ให้ใช้ได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคมของปีที่ 8
นับแต่ปีที่ออกใบอนุญาต
จ. ให้ใช้ได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคมของปีที่ 10
นับแต่ปีที่ออกใบอนุญาต
ข้อ 38. ห้ามกระทำการใดๆ
ที่อาจเป็นอันตรายหรือก่อให้เกิดผลกระทบในทางเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศน์ของพื้นที่คุ้มครอง
จากลักษณะตามธรรมชาติหรือความหลากหลายทางชีวภาพหรือเกิดผลกระทบต่อคุณค่าของสมุนไพร
หากฝ่าฝืนมีโทษอย่างไร ?
ข. ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 2 ปี
หรือปรับไม่เกิน 50,000
บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ค. ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี
หรือปรับไม่เกิน 50,000
บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ง. ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี
หรือปรับไม่เกิน 60,000
บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
จ. ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 4 ปี
หรือปรับไม่เกิน 80,000
บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ก. ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน
หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ข. ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน
6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ค. ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน
6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 30,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ง. ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน
1 ปี หรือปรับไม่เกิน 40,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
จ. ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน
1 ปี หรือปรับไม่เกิน 50,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ข้อ 40. ในกรณีที่นายทะเบียนมีคำสั่งยกคำขอจดทะเบียนสิทธิในภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ผู้ขอจดทะเบียนมีสิทธิอุทธรณ์คำสั่งนั้น ต่อใคร และภายในกี่วัน ?
ก. ต่อคณะกรรมการภายใน
30 วันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือแจ้งคำสั่งของนายทะเบียน
ข. ต่อคณะกรรมการภายใน 60 วันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือแจ้งคำสั่งของนายทะเบียน
ค. ต่อคณะกรรมการภายใน
90
วันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือแจ้งคำสั่งของนายทะเบียน
ง. ต่อคณะกรรมการภายใน
120
วันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือแจ้งคำสั่งของนายทะเบียน
จ. ต่อคณะกรรมการภายใน
150 วันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือแจ้งคำสั่งของนายทะเบียน
ก. ต่อรัฐมนตรี ภายใน 30 วันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือแจ้งคำสั่งของนายทะเบียน คำวินิจฉัยของรัฐมนตรีให้เป็นที่สุด
ข. ต่อรัฐมนตรี ภายใน 60 วันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือแจ้งคำสั่งของนายทะเบียน
คำวินิจฉัยของรัฐมนตรีให้เป็นที่สุด
ค. ต่อรัฐมนตรี ภายใน 90 วันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือแจ้งคำสั่งของนายทะเบียน
คำวินิจฉัยของรัฐมนตรีให้เป็นที่สุด
ง. ต่อรัฐมนตรี ภายใน 120 วันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือแจ้งคำสั่งของนายทะเบียน
คำวินิจฉัยของรัฐมนตรีให้เป็นที่สุด
จ. ต่อรัฐมนตรี ภายใน 180 วันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือแจ้งคำสั่งของนายทะเบียน คำวินิจฉัยของรัฐมนตรีให้เป็นที่สุด
ก. ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน
1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ข. ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน
1 ปี หรือปรับไม่เกิน 30,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ค. ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี
หรือปรับไม่เกิน 40,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ง. ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน
2 ปี หรือปรับไม่เกิน 40,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
จ. ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน
2 ปี หรือปรับไม่เกิน 50,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ข้อ 43. เมื่อปรากฏว่าผู้ได้รับใบอนุญาต ให้ศึกษาวิจัยหรือส่งออกสมุนไพรควบคุม หรือจำหน่ายหรือแปรรูป สมุนไพรควบคุมเพื่อการค้า ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ผู้อนุญาตมีอำนาจสั่งพักใช้ใบอนุญาตมีกำหนดครั้งละ กี่วัน ?
ข. ครั้งละไม่เกิน
120 วัน
ค. ครั้งละไม่เกิน 150 วัน
ง. ครั้งละไม่เกิน
180 วัน
จ. ครั้งละไม่เกิน
240 วัน
ข้อ 44. ผู้ได้รับใบอนุญาต ให้จำหน่ายหรือแปรรูป
สมุนไพรควบคุมเพื่อการค้า ซึ่งถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาต จะจำหน่ายสมุนไพรควบคุมของตนที่เหลืออยู่
แก่ผู้รับใบอนุญาตอื่น ได้ภายใน กี่วัน นับแต่วันที่ทราบคำสั่งเพิกถอนใบอนุญาต ?
ก. ภายใน 60 วัน
ค. ภายใน 120 วัน
ง. ภายใน 150 วัน
จ. ภายใน
180 วัน
ข้อ 45. ผู้ที่ได้รับการตกทอดทางมรดกซึ่งสิทธิในภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย
ต้องยื่นคำขอจดทะเบียนต่อนายทะเบียนภายในกี่ปีนับแต่ผู้ทรงสิทธิถึงแก่ความตาย ?
ก. 1 ปี
ข. 2 ปี
ค. 3 ปี
ง. 4 ปี
จ. 5
ปี
ข้อ 46. ก่อนที่จะสั่งเพิกถอนการอนุญาตให้ใช้สิทธิในภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ตามมาตรา 41 ให้นายทะเบียนมีหนังสือแจ้งให้ผู้รับอนุญาตให้ใช้สิทธิในภูมืปัญญาการแพทย์แผนไทยนั้นทราบเพื่อยื่นคำชี้แจงภายในกี่วัน
นับแต่วันที่ได้รับหนังสือจากนายทะเบียน ?
ก. ภายใน 15 วัน
ข. ภายใน 30 วัน
ค. ภายใน 45 วัน
ง. ภายใน 60 วัน
จ. ภายใน
90 วัน
ข้อ 47. ผู้รับอนุญาตซึ่งถูกเพิกถอนใบอนุญาต ต้องหยุดประกอบกิจการตามใบอนุญาตนั้น
และจะขอรับใบอนุญาตใดๆ ตามพระราชบัญญัตินี้อีกไม่ได้ จนกว่าจะพ้นกำหนดกี่ปื
นับแต่วันที่ถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาต ?
ข. พ้นกำหนด 2 ปี
ค. พ้นกำหนด 3 ปี
ง. พ้นกำหนด 4 ปี
จ. พ้นกำหนด
5 ปี
ข้อ 48. ในกรณีนายทะเบียนมีคำสั่งยกคำขอจดทะเบียนสิทธิในภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยตามมาตรา 27
ผู้ขอจดทะเบียนมีสิทธิอุทธรณ์คำสั่งนั้นต่อคณะกรรมการภายในกี่วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือแจ้งคำสั่งของนายทะเบียน
ข้อใดถูก ?
ข. ภายใน 30 วัน
ค. ภายใน 45 วัน
ง. ภายใน 60 วัน
จ. ภายใน 90 วัน
ข้อ 49. ในกรณีที่นายทะเบียนมีคำวินิจฉัยเกี่ยวกับผู้มีสิทธิจดทะเบียนสิทธิในภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยตามมาตรา 30 วรรค สอง
ผู้ขอจดทะเบียนหรือผู้คัดค้าน แล้วแต่กรณี มีสิทธิอุทธรณ์คำวินิจฉัยนั้นต่อคณะกรรมการภายในกี่วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือแจ้งคำวินิจฉัยของนายทะเบียน
ข้อใดถูก ?
ก. ภายใน 15 วัน
ข. ภายใน 30 วัน
ค. ภายใน 45 วัน
ง. ภายใน 60 วัน
จ. ภายใน 90 วัน
ข้อ 50. ในกรณีที่นายทะเบียนมีคำสั่งเพิกถอนการจดทะเบียนสิทธิในภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยตามมาตรา 39 วรรคสาม
ผู้ทรงสิทธิมีสืทธิอุทธรณ์คำสั่งต่อรัฐมนตรีภายในกี่วัน
นับแต่วันที่ได้รับหนังสือแจ้งคำสั่งของนายทะเบียน ข้อใดถูก ?
ก. ภายใน 15 วัน
ข. ภายใน 30 วัน
ค. ภายใน 45 วัน
ง. ภายใน 60 วัน
จ. ภายใน 90 วัน
ข้อ 51. ในกรณีที่นายทะเบียนมีคำสั่งเพิกถอนการการอนุญาตให้ใช้สิทธิในภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยตามมาตรา 41 ผู้รับอนุญาตให้ใช้สิทธิในภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยมีสิทธิอุทธรณ์ในคำสั่งนั้นต่อคณะกรรมการภายในกี่วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือแจ้งคำสั่งของนายทะเบียน ข้อใดถูก ?
ก. ภายใน 15 วัน
ข. ภายใน 30 วัน
ค. ภายใน 45 วัน
ง. ภายใน 60 วัน
จ. ภายใน 90 วัน
ข้อ 52. ในกรณีผู้อนุญาตมีคำสั่งพักใบอนุญาตตามมาตรา 52 หรือมีคำสั่งเพิกถอนใบอนุญาตตามมาตรา 54 ผู้รับอนุญาตซึ่งถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาต หรือถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาตนั้นมีสิทธิอุทธรณ์คำสั่งนั้นต่อคณะกรรมการภายในกี่วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือแจ้งคำสั่งของนายทะเบียน ข้อใดถูก ?
ก. ภายใน 15 วัน
ข. ภายใน 30 วัน
ค. ภายใน 45 วัน
ง. ภายใน 60 วัน
จ. ภายใน 90 วัน
ข้อ 53. ในการปฏิบัติหน้าที่
ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจ ข้อใดถูก ?
ก. เข้าไปในสถานที่ใดๆ
ในระหว่างเวลาทำการเพิ่อตรวจสอบและควบคุมให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้
ข. ยึดและอายัดบรรดาเอกสารหรือสิ่งของที่เกี่ยวข้องกับการกระทำความผิดตามพระราชบัญญัตินี้
เพื่อเป็นหลักฐานในการดำเนินคดี
ค. สั่งให้บุคคลใดๆ
มาให้ถ้อยคำหรือส่งเอกสารหรือหลักฐาน ในกรณีมีเหตุอันควรเชื่อถือว่า ถ้อยคำ เอกสาร
หรือหลักฐานดังกล่าวมีประโยชน์แก่การค้นพบหรือใช้เป็นพยานหลักฐานในการพิสูจน์การกระทำความผิดตามพระราชบัญญัตินี้
ง. สั่งให้บุคคลใดๆ
ออกจากพื้นที่คุ้มครองสมุนไพร หรืองดเว้นการกระทำใดอันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา 63
จ. ไม่มีข้อใดผิด
ข้อ
54. กองทุนภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย กองทุนประกอบด้วยเงินและทรัพย์ดังต่อไปนี้
ข้อใดถูก ?
ก. เงินอุดหนุนจากรัฐบาล
ค. ดอกผลและผลประโยชน์ที่เกิดจากกองทุน
ง. รายได้อื่นที่เกิดจากการดำเนินการกองทุน
จ. ไม่มีข้อใดไม่ถูก
ข้อ 55. อัตราค่าธรรมเนียม ใบอนุญาตให้วิจัยสมุนไพรควบคุม
และต่ออายุใบอนุญาตดังกล่าว ข้อใดถูก ?
ก. ฉบับละ 5,000 บาท
ข. ฉบับละ 10,000 บาท
ค. ฉบับละ 15,000 บาท
ง. ฉบับละ 20,000 บาท
จ. ฉบับละ 25,000 บาท
ข้อ 56. อัตราค่าธรรมเนียม ใบอนุญาตให้จำหน่าย
ส่งออก หรือแปรรูปสมุนไพรควบคุมเพื่อการค้า และต่ออายุใบอนุญาตดังกล่าว
ข้อใดถูก ?
ก. ฉบับละ 5,000 บาท
ข. ฉบับละ 10,000 บาท
ค. ฉบับละ 15,000 บาท
ง. ฉบับละ 20,000 บาท
จ. ฉบับละ 25,000 บาท
ข้อ 57. อัตราค่าธรรมเนียม ใบอนุญาตให้จัดการบริหารพื้นที่คุ้มครองสมุนไพร
หรือใช้ประโยขน์จากสมุนไพรในพื้นที่คุ้มครองสมุนไพรเพิ่อการค้า
และต่อใบอนุญาตดังกล่าว ข้อใดถูก ?
ก. ฉบับละ 5,000 บาท
ข. ฉบับละ 10,000 บาท
ค. ฉบับละ 15,000 บาท
ง. ฉบับละ 20,000 บาท
จ. ฉบับละ 25,000 บาท
ข้อ 58. อัตราค่าธรรมเนียม หนังสือสำคัญการขึ้นทะเบียนที่ดินที่เป็นถิ่นกำเนิดของสมุนไพร ข้อใดถูก ?
ก. ฉบับละ 500 บาท
ข. ฉบับละ 1,000 บาท
ค. ฉบับละ 1,500 บาท
ง. ฉบับละ 2,000
บาท
จ. ฉบับละ 2,500 บาท
ข้อ 59. อัตราค่าธรรมเนียม คำขออนุญาต คำขอต่อใบอนุญาต คำขอขึ้นทะเบียน และคำขอจดทะเบียนตามพระราชบัญญัตินี้ ข้อใดถูก ?
ก. ฉบับละ 500 บาท
ข. ฉบับละ 1,000 บาท
ค. ฉบับละ 1,500 บาท
ง. ฉบับละ 2,000 บาท
จ. ฉบับละ 2,500 บาท
ข้อ 60. อัตราค่าธรรมเนียม หนังสือสำคัญการจดทะเบียนสิทธิในภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ข้อใดถูก ?
ข. ฉบับละ 1,000 บาท
ค. ฉบับละ 1,500 บาท
ง. ฉบับละ 2,000 บาท
จ. ฉบับละ 2,500 บาท
-------------------------------------
No comments:
Post a Comment